

gallery4u

Botanical

Abstract

Animals

maps

Modern

Best Sellers

Decorative Art

Fine Art

Photography

Scenic
FRAME YOUR ART

LOFT ART

Recent Post
เมืองไทยมีเรื่องน่าเสียดายอย่างหนึ่งก็คือ เราไม่ค่อยได้เก็บประวัติบุคคลสำคัญทางด้านศิลปะสักเท่าไร นั่นทำให้เราไม่มีโอกาสได้ศึกษาเรื่องราวของอาจารย์เหล่านั้นไปด้วย อาจารย์ทางศิลปะหลายท่านมีความโดดเด่นมากแต่กลับไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้างสักเท่าไร เพื่อเป็นการระลึกถึงอาจารย์ท่านเหล่านั้น เราจึงขอนำเสนอประวัติของอาจารย์ทางด้านศิลปะท่านหนึ่งชื่อว่า อาจารย์ลิม นาคีรักษ์ อาจารย์เฉลิม นาคีรักษ์ ท่านเป็นใคร อาจารย์เฉลิม นาคีรักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2460 ปัจจุบันถึงแก่กรรมแล้วเมื่อวันที่ 2
หากให้เราพูดชื่อศิลปินมาสัก 1 คน เชื่อว่าชื่อของ อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ต้องเป็นหนึ่งในนั้นอย่างแน่นอนทั้งผลงานการวาดภาพที่สวยงามมีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง คาแรกเตอร์ของอาจารย์ที่เป็นตรง โผงผาง จนหลายคนคาดไม่ถึงเลย แต่อาจารย์เองเป็นคนใจดี ท่านมักจะออกไปวาดภาพช่วยเหลือเสมอหากทางการขอความร่วมมือ เรามาดูกันบ้างว่ามีภาพใดบ้างของอาจารย์ที่แฝงเรื่องราวเอาไว้ด้วย ภาพชุด HERO ภาพชุดนี้ เป็นชิ้นงานที่อาจารย์เฉลิมชัย ร่วมมือกับศิลปินในเขตภาคเหนืออีกจำนวนหนึ่ง สร้างภาพชุด HERO
แม้แต่สีน้ำก็ยังอาจเป็นเรื่องยากสำหรับบางคน แม้แต่คนที่มีประสบการณ์ยังพบว่ามันท้าทายเลยด้วยซ้ำ แต่ถ้าคุณรู้หลักการในการลงสีก็ไม่ใช่เรื่องยาก เริ่มด้วยฝึกอุ่นเครื่องง่ายๆที่เราจะนำมาเสนอในวันนี้ คุณจะเริ่มเข้าใจว่าสีน้ำใช้งานได้จริงได้อย่างไร ให้ความรู้สึกสบายกับการลงสีของคุณหวังว่าจะได้ไอเดียสำหรับการสร้างสรรค์ใหม่ๆในครั้งนี้ การลงสีน้ำบนพื้นเปียก มีสองวิธีพื้นฐานในการวาดด้วยสีน้ำ โดยทั่วไปแล้ววิธีการแบบเปียกจะเปียกใช้สำหรับการวาดภาพทิวทัศน์, ท้องฟ้าง่ายๆ เพราะจะส่งผลลัพธ์ทำให้ภาพเรามีลักษณะที่ดูลื่นไหลซึ่งสามารถนำไปใช้ได้หลายวิธี โดยพื้นฐานแล้วเราจะใช้สีเปียกบนพื้นผิวที่เปียก นี่คือหลักการฝึกง่ายๆที่สามารถช่วยให้คุณคุ้นเคยกับเทคนิคนี้ดีขึ้น เริ่มจากการทำให้แปรงเปียกด้วยน้ำเปล่า และระบายสีสี่เหลี่ยมสองรูป 2.รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าจะมองเห็นได้ยากเพราะไม่มีเม็ดสี แต่ถ้าคุณเอียงศีรษะเล็กน้อยคุณจะสามารถรู้ตำแหน่งที่คุณจะใช้สีน้ำระบายลงไปได้ 3.เลือกสีที่เปียกสีที่คุณจะใช้ด้วยการจุ่มสี และปัดเล็กน้อย จากนั่นจึงนำไประบายที่สีเหลี่ยมของคุณ



Previous
Next